วันจันทร์ที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2556



บันทึกอนุทินครั้งที่ 5

                                                                           บันทึกอนุทิน

 

        วิชาการจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย

        อาจารย์ผู้สอน  อาจารย์ตฤณ  แจ่มถิน



                 วัน/เดือน/ปี      วันศุกร์ ที่  12 กรกฎาคม  พ.ศ. 2556
                   ครั้งที่ี 1  เวลาเรียน 08.30-12.20 น. ห้อง233 อาคาร 2
       เวลาเข้าสอน  08.30 น.  เวลาเข้าเรียน  08.40 น.   เวลาเลิกเรียน 12.20 น.
   



  องค์ประกอบของภาษา
   กิจกรรมก่อนเรียน
  • อาจารย์ให้กระดาษมา1แผ่นวาดรูปสิ่งของที่เรารักและชอบตั้งตั้งเด็กๆพร้อมออกมาบรรยาย

หมอนใบนี้แม่ซื้อให้ตั้งแต่เด็กๆรักและติดมากพอขึ้นป.6แม่เลยยึดเก็บใส่กล่องเพราะโตแล้วจนตอนนี้หายไปกลับน้ำท่วมแล้วค่ะ



 
ความรู้ที่ได้รับในวันนี้


องค์ประกอบของภาษา

  1. Phonology  คือระบบเสียงของภาษาเสียงที่มนุษย์เปล่งออกมาเพื่อสื่อความหมาย
  2. Semantic    คือความหมายของภาษาและคำศัพท์ที่มีความหมายหลากหลายหรือเหมือนกัน
  3. Syntax       คือระบบไวยากรณ์การเรียงรูปประโยค
  4. Pragmatic  คือระบบการนำไปใช้ภาษาให้ถูกตามสถานการณ์และกาลเทศะ

นักพฤติกรรมนิยมเชื่อว่า

  • ภาษาเป็นกระบวนการภายในมนุษย์
  • เด็กเกิดมาโดยมีศักยภาพในการเรียนรู้ภาษา
  • เมื่อได้รับแรงเสริมจะทำให้เด็กเลียนแบบตัวแบบมากขึ้น
ภาษาในการจัดประสบการณ์แบ่งได้เป็น3กลุ่มดังนี้
  1. มุมมองด้านโครงสร้างของภาษา
  2. มุมมองด้านหน้าที่ของภาษา
  3. มุมมองด้านปฎิสัมพันธ์
แนวคิดนักการศึกษา  (พฤติกรรมแนวนิยม)


                       
                                               Skinner







                                         John B. Watson


แนวคิดกลุ่มพัฒนาสติปัญญา


    
                                               Piaget





                                           
                                            Vygotsky


 แนวคิดของกลุ่มที่เชื่อเรื่องความพร้อมทางร่างกาย



                    
                                                                                  Arnold gesell


แนวคิดของกลุ่มที่เชื่อว่าภาษาติดตัวมาตั้งแต่เกิด 



noam chomsky



สรุป
           
     เด็กปฐมวัยเรียนรู้ภาษา จากสิ่งแวดล้อมใกล้ตัวทั้งสิ่งแวดล้อมที่บ้าน และโรงเรียน เด็กจะเรียนรู้การฟังและการพูดก่อน เพราะการฟังและการพูดเป็นของคู่กัน เป็นพื้นฐานทางภาษา กล่าวคือ เมื่อฟังแล้วก็ย่อมต้องพูดสนทนาโต้ตอบได้ การเรียนภาษาของเด็กปฐมวัยไม่จำเป็นต้องอาศัยการสอนอย่างเป็นทางการ หรือตามหลักไวยกรณ์ แต่จะเป็นการเรียนรู้จากการมีปฏิสัมพันธ์กับคนรอบข้างหรือสิ่งแวดล้อมรอบตัว หรือเป็นการสอนแบบธรรมชาติ









ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น